กฎหมายแรงงาน

การทำงานมักจะมีข้อบังคับต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน และมันก็เป็นสิ่งที่บังคับเพื่อทำให้มันถูกต้องตามกฎหมายดังนั้นจำเป็นจะต้องมีกฎหมายแรงงาน เพื่อการทำงานด้วยซึ่งหลายคนน่าจะรู้จักกันเป็นอย่างดีว่ามันมีไว้ เพื่ออะไรแต่เดี๋ยววันนี้เราจะมาอธิบายให้ทุกท่านได้ฟังกันเกี่ยวกับข้อบังคับต่างๆ ซึ่งมันจะเป็นสิ่งที่กำหนดสิทธิ์ที่หน้าที่ในการทำงาน และสิทธิ์ที่ควรจะได้มันก็คือข้อตกลงระหว่างการทำงานระหว่างลูกจ้างและนายจ้าง โดยมีกฎหมายเป็นตัวกำหนดมันจะเป็นตัวที่ช่วยกำหนดเรื่องต่างๆ ไม่ว่าตั้งแต่วันหยุดวันลาสิทธิ์ที่ควรจะได้ในการทำงาน เพื่อที่จะได้ไม่โดนเอารัดเอาเปรียบในการทำงาน เพื่อนายจ้างเป็นคนที่ชอบเอาเปรียบแต่ถ้ามีการใช้ กฎหมายแรงงาน เป็นตัวควบคุมก็ไม่สามารถที่จะเอารัดเอาเปรียบได้ เพราะว่ามันเป็นกฎหมายที่เป็นข้อบังคับของประเทศไทยเลย ดังนั้นจึงไม่มีสิทธิ์ที่จะปรับเปลี่ยนอะไรทั้งนั้น เดี๋ยวเรามาดูข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานกันเลยดีกว่าว่ามันมีอะไรกันบ้าง

ข้อบังคับต่างๆของ กฎหมายแรงงาน

  1. เวลาในการทำงานและเวลาพักรวมถึงวันทำงาน
  2. วันหยุดและสิทธิ์ในการหยุดต่างๆ
  3. การทำงานล่วงเวลาและการทำงานตามปกติหรือทำงานในวันหยุด
  4. การจ่ายค่าจ้างรวมถึงค่าล่วงเวลาหรือการทำงานในวันหยุด
  5. กฎในการลาและวันลา
  6. โทษทางวินัย
  7. ร้องทุกข์
  8. จ่ายค่าชดเชยกรณีการเลิกจ้างและค่าชดเชยพิเศษ

กฎหมายแรงงานฉบับใหม่น่าสนใจมากๆ

ได้มีมติเห็นชอบเกี่ยวกับการคุ้มครองแรงงานดังนั้น จึงทำให้เราแรงงานทั้งหลายจะได้มีสิทธิต่างๆเพิ่มมากขึ้นกว่าเดิม และต้องบอกเลยว่ามันจะให้สิทธิประโยชน์และเป็นประโยชน์กับลูกจ้างเอามากๆ ซึ่งต้องบอกเลยว่ามันจะได้รับดอกเบี้ยปีละ 15% เลยทีเดียวและถ้าบริษัทมีการจ่ายค่าจ้างผิดนัดหรือค้างมันจะเป็นการคุ้มครองลูกจ้างเพิ่มมากขึ้นกว่าเดิม ป้องกันการเอารัดเอาเปรียบระยะเวลาการเปลี่ยนตัวนายจ้างก็จำเป็นที่จะต้องได้รับความยินยอมจากลูกจ้าง และข้อนายจ้างใหม่ด้วยดังนั้นจึงไม่สามารถที่จะเปลี่ยนตัวนายจ้างได้ หากเพียงนายจ้างต้องการเปลี่ยนแค่ฝั่งเดียว แล้วก็มีข้อกำหนดในการทำงานไม่ว่าจะเป็นผู้ชายหรือผู้หญิงถ้าทำงานในตำแหน่งเดียวกัน หรือประเภทเดียวกันและทำงานออกมาได้มีคุณภาพทั้งคู่จะต้องไม่แบ่งแยกเพศว่าเพศไหนจะต้องได้เงินเยอะกว่ากัน

และก็ยังมีสิทธิพิเศษต่างๆที่น่าสนใจอย่างเช่นการลาธุระจำเป็นซึ่งจะได้อย่างน้อย 3 วันต่อปีเลยทีเดียวและการลาคลอดบุตรสามารถลาตรวจครรภ์ 90 วันก่อนคลอดก็ได้และจะได้รับค่าจ้างไม่น้อยกว่า 45 วันและอีกกรณีหนึ่งที่น่าสนใจก็คือบางครั้ง เราจะเห็นได้เลยว่าเศรษฐกิจตอนนี้มันไม่ดีจึงมีการยุบบริษัทหลากหลายแห่งเลยทีเดียว ที่ได้ปิดตัวลงไปดังนั้นจึงได้มีการเพิ่มเติมค่าชดเชยให้กับลูกจ้าง ในกรณีที่ถูกนายจ้างเลิกจ้างด้วยแอร์มีข้อแม้ว่าถ้าคุณทำงานมายาวนานมากติดต่อกันถึง 20 ปีคุณจะได้รับเงินชดเชยไม่ต่ำกว่าค่าจ้างจำนวน 400 วันเพราะถ้าเป็นกฎหมายเดิมจะถูกกำหนดไว้ 10 ปีและรับค่าจ้างชดเชย 300 วันดังนั้นมันก็เป็นสิทธิพิเศษที่เพิ่มมากขึ้น และมันจะเป็นตัวช่วยคุ้มครองให้กับลูกจ้างได้เป็นอย่างดีและเชื่อได้เลยว่ามันจะมีประโยชน์

กฎหมายแรงงานมีความสำคัญอย่างไร

กฎหมายแรงงานนั้นมันถูกออกแบบมาเพื่อที่จะให้สอดคล้อง และไม่เกิดข้อเสียเปรียบของลูกจ้างและให้ความเป็นธรรมกับนายจ้างภายใต้สิ่งที่ทั้งประเทศใช้ เพื่อให้มันมีมาตรฐานกันทั่วประเทศร่างกฎหมายที่ได้ออกมานั้น มันจะเป็นตัวช่วยทำให้ระบบการจัดการภายในองค์กรของทุกองค์กร สามารถเป็นไปได้อย่างราบรื่นและมีแนวทางที่ไปในทางเดียวกันอย่างชัดเจน และต้องบอกก่อนว่านายจ้างก็ไม่มีสิทธิ์ที่จะไม่เข้าใจหรือไม่ใส่ใจ เพราะมันจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานอย่างเคร่งครัด และต้องบอกเลยว่าไม่ใช่แต่นายจ้างเท่านั้นที่ควรจะรู้กฎหมายของแรงงาน เพราะลูกจ้างก็ควรที่จะศึกษาเอาไว้บ้างเพื่อการตัวเองจะได้ไม่เสียเปรียบเพราะในบางครั้งมันก็มีช่องโหว่หัวหน้างาน อาจจะหรือเจ้าขององค์กรอาจจะหาหนทางในการหลีกเลี่ยงและทำให้ลูกจ้างเสียโอกาส

กฎหมายแรงงานนั้นมันถูกออกแบบมาเพื่อที่จะให้สอดคล้อง และไม่เกิดข้อเสียเปรียบของลูกจ้างและให้ความเป็นธรรมกับนายจ้างภายใต้สิ่งที่ทั้งประเทศใช้ เพื่อให้มันมีมาตรฐานกันทั่วประเทศร่างกฎหมายที่ได้ออกมานั้น มันจะเป็นตัวช่วยทำให้ระบบการจัดการภายในองค์กรของทุกองค์กร สามารถเป็นไปได้อย่างราบรื่นและมีแนวทางที่ไปในทางเดียวกันอย่างชัดเจน และต้องบอกก่อนว่านายจ้างก็ไม่มีสิทธิ์ที่จะไม่เข้าใจหรือไม่ใส่ใจ เพราะมันจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานอย่างเคร่งครัด และต้องบอกเลยว่าไม่ใช่แต่นายจ้างเท่านั้นที่ควรจะรู้กฎหมายของแรงงาน เพราะลูกจ้างก็ควรที่จะศึกษาเอาไว้บ้างเพื่อการตัวเองจะได้ไม่เสียเปรียบเพราะในบางครั้งมันก็มีช่องโหว่หัวหน้างาน อาจจะหรือเจ้าขององค์กรอาจจะหาหนทางในการหลีกเลี่ยงและทำให้ลูกจ้างเสียโอกาส หรือหากยังไม่มีความรู้ก็ยังสามารถปรึกษา ที่ปรึกษากฎหมาย ได้เพื่อความเข้าใจเบื้องต้น